วันจันทร์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

อนุทินครั้งที่10






ความหมายของคำว่า
จริยธรรมไว้ในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ดังนี้
"จริยธรรม" คือหลักแห่งการประพฤติ ปฏิบัติที่ดีที่เหมาะที่ควร
"จริยธรรม"คือหลักคำสอนที่ว่าด้วยเเนวทางการประพฤติที่เป็นหลักการเเละเป็นที่ยอมรับนับถือ

ส่วนความหมายเเม่การนำไปสู่การปฏิบัตินั้นจริยธรรม มีความหมายตามที่เข้าใจโดยทั่วไปว่าจริยธรรม
เป็นแนวทางที่เเสดงให้เห็นถึงวิธีการประพฤติ
การพัฒนาคนให้เป็นผู้ที่มีจริยธรรมนั้นมีเเนวทางการพัฒนาโดยอาศัยทฤษฏีที่เกี่ยวข้องดังนี้
ทฤษฏีจริยธรรมตามเเนวคิดการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของโคลเบอร์ก
"โคลเบอร์ก"
เป็นนักจิตวิทยาที่อธิบายถึงจริยธรรมของคนที่พัฒนาขึ้นไปพร้อมกับความสามารถในการคิดเชิงเหตุผลโดยเเบ่งออกเป็น3ระดับ คือระดับก่อนเกณฑ์ระดับเกณฑ์สังคมเเละระดับเลยเกณฑ์ของสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้จริยธรรมด้วยการกระทำตามเเนวคิดสกินเนอร์
"สกินเนอร์"
นักจิตวิทยากลุ่มพฤติกรรมนิยมเป็นผู้เสนอทฤษฏีที่มีความเชื่อว่าพฤติกรรมของคนเกิดจากการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ทฤษฏีการเรียนรู้พฤติกรรมจริยธรรมตามเเนวคิดของแบนดูรา
"แบนดูรา"
นักจิตวิทยาสังคมอธิบายว่าพฤติกรรมส่วนใหญ่ของคนในสังคมเกิดจากการเรียนรู้โดยสังเกตุจกตัวเเบบทั้งตัวแบบในชีวิตจริงหรือตัวแบบที่เป็นสัญลักษณ์
วิธีการสอนจริยธรรมในเด็กปฐมวัย
1.การใช้วิธีการให้รางวัลเเละการลงโทษทั้งนี้การให้รางวัลมิได้หมายถึงการให้คำชมเชยยกย่อง ยอมรับการเเสดงความชื่นชมไม่มากหรือน้อยไป
กระบวนการพัฒนาจริยธรรมในเด็กปฐมวัย 
1.การรับรู้
2.การตอบสนอง
3.การจัดระเบียบ
4.การสร้างลักษณะนิสัย



๑.ขยัน
      ๒.ประหยัด
    ๓.ซื่อสัตย์
 ๔.มีวินัย
 ๕.สุภาพ
  ๖.สะอาด
   ๗.สามัคคี
  ๘.มีน้ำใจ


ประเมินอาจารย์

อาจารย์ได้ให้ตัวอย่างอธิบายเกี่ยวกับการส่งเสริมปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของเด็กปฐมวัยอย่างเข้าใจง่าย

ประเมินเพื่อน

เพื่อนตั้งใจเรียนดีมาก มีการตอบสนองเมื่ออาจารย์ถาม

ประเมินตนเอง

มีความตั้งใจเรียนปานกลาง


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น