วันอาทิตย์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

อนุทินครั้งที่8





อาจารย์ได้พูดถึงเรื่องการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย

ความหมายของการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย
       การอบรมเลี้ยงดูเด็ก หมายถึง การที่บิดามารดา หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องในการ้ลี้ยงดูเด็ก ปฏิบัติต่อเด็กที่ยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ให้เจริญเติบโตเเละยังมีพัฒนาการ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม เเละสติปัญญา

ความสำคัญของพ่อเเม่ในการอบรมเลี้ยงดู
       คุณภาพเเละประสิทธิภาพของมนุษย์ขึ้นอยู่กับพัฒนาการของเเต่ละคนตามวียต่างๆ โดยเฉพาะบุคคลในวัยทำงานนั้นจะมีคุณภาพเเละประสิทธิภาพเท่าใดก็ขึ้นอยู่กับการเรียนรู้ การฝึกฝนเเละประสบการณ์ที่ต่เนื่องตั้งเเต่เเรกเกิดจนถึงวัยปัจบัน

บทบาทและหน้าที่ของพ่อแม่ในการอบรมเลี้ยงดู
  1.มีเจตคติที่ดีต่อเด็ก
  2.สนองความต้องการของเด็กในทุกด้าน
  3.ถ่ายทอดวัฒนธรรมประเพณีให้กับเด็ก
  4.ปลูกฝังเจตคติที่ดีต่อบุคคลเเละสิ่งต่างๆ
  5.ส่งเสริมความสนใจของเด็ก
  6.ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญา
  7.สร้างสิ่งเเวดล้อมที่ดีให้เเก่เด็ก
  8.ทำตัวเป็นครูของเด็ก
  9.การให้เเรงเสริมและการลงโทษ


  บทบาทของพ่อแม่ที่ไม่เหมาะสมในการอบรมเลี้ยงดู 
     1.การตี
     2.การขู่
     3.การให้สินบน
     4.การเยาะเย้ย
     5.การทำโทษรุนเเรงเกินไป
     6.การล่อเลียน
     7.การคาดโทษ
     8.การกระทำให้ได้รับความเจ็บปวด
     9.การทำให้ได้รับความอับอาย
    10.การเปรียบเทียบกับเด็กที่เล็กกว่า

ความสำคัญเเละวามสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่เเละลูก

      ความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่เเละลูก หมายถึงความรู้สึกที่พ่อแม่มีต่อลูกเเละความรู้สึกที่ลูกมีต่อพ่อมเเม่นั่นเองเเต่ละคนอาจจะมีความรู้สึกต่อพ่อเเม่ต่างกัน เช่นมีคำกล่าวว่าลูกสาสมักจะใกล้ชิดสนิทสนมกับเเม่มากกว่าพ่อ เป็นต้น

  เจตคติของพ่อเเม่ที่มีต่อลูก 6แบบ

   1. พ่อแม่ที่รักเเละคอยช่วยเหลือเอาใจใส่ลูกมากเกินไป
   2.พ่อแม่เอาใจลูกมากเกินไป
   3.พ่อเเม่ทอดทิ้งเด็ก
   4.พ่อแม่ที่ยอมนับเด็ก
   5.พ่อเเม่ที่ชอบบังคับลูก
   6.พ่อแม่ที่ยิมจำนนต่อลูก




ประเมินอาจารย์
อาจารย์ได้ให้คำแนะนำได้ดี เข้าใจง่าย

ประเมินเพื่อน
เพื่อนมีความตั้งใจเรียน อาจจะมีติดเล่นไปบ้าง

ประเมินตนเอง
มีความตั้งใจเรียนบางครั้ง เข้าเรียนตรงเวลา

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น